Menu Close

เสถียรภาพ ราคา ไข่ไก่

ราคาไข่ไก่

เสถียรภาพ ราคาไข่ไก่ (Chicken egg price stability)

 ฟังเสียงคนไทยพร่ําบ่นตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมาจนถึง

ปัจจุบัน คือ “ของแพง” โดยเฉพาะอาหารที่มีการปรับราคา ต่อเนื่องจากเหตุผลหลัก คือ ต้นทุนวัตถุดิบ ต้นทุนพลังงาน และ ต้นทุนปัจจัยการผลิต และ การป้องกันโรคเพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง ซึ่งวัตถุดิบอาหารสัตว์เพิ่มแรงมากถึง 30% สินค้า สําคัญ คือ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ส่งผลกระทบโดยตรงกับ ภาคปศุสัตว์ที่พึ่งวัตถุดิบชนิดนี้เฉลี่ย 50-70% ทั้ง ไก่เนื้อ ไก่ไข่ และสุกร ตามลําดับ จึงไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ที่เกษตรกร และผู้ที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่การผลิตต้องปรับราคาเพิ่มขึ้น

Chickatron 20

 

ตามกลไกตลาด ให้สามารถเดินหน้าธุรกิจได้โดยไม่หยุดชะงัก

สําหรับอาหารที่เข้าถึงง่ายที่สุดสําหรับคนทุกเพศทุกวัยทั่วโลกอย่าง “ไข่ไก่” ในประเทศไทย เมื่อไหร่ก็ตามที่มีการปรับราคาเสียงบ่นอื้ออึงก็จะ ตามมา ขณะที่ภาคเกษตรกรก็สุดอั้นกับต้นทุนที่เพิ่มขึ้น ราคาไข่ไก่ขอปรับบ้าง 

 

ส่วนภาคผู้บริโภคล่าสุดจากการปรับราคาไข่คละหน้าฟาร์มอีก 20 สตางค์ต่อ ฟอง ก็ร้องว่า…ขึ้นอีกแล้ว หรือไข่ราคาพุ่งบ้าง ลําบากแน่…ทั้งที่ความจริง 2 เดือนก่อนหน้าราคาลงไป 20 สตางค์ต่อฟอง ตามกลไกตลาด ซึ่งกรมการค้า ภายในออกมายืนยันว่า ราคาไข่ไก่เพิ่มขึ้น 20 สตางค์ จาก 3.40 บาทต่อฟอง เป็น 3.60 บาทต่อฟอง ภาครัฐมีการติดตามใกล้ชิดและได้ตรวจสอบแล้วว่า

 

การปรับราคาไข่ไก่ดังกล่าวเป็นไปตามอุปสงค์-อุปทาน สอดคล้องกับต้นทุน การผลิตโดยเฉพาะอาหารสัตว์ และยังไม่เกินราคาที่กรมฯ กํากับดูแลอยู่ให้ ทั้งผู้บริโภคและผู้ผลิตอยู่ได้อย่างสมดุล

ไทยเป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคที่ราคาไข่ไก่เข้าถึงได้ง่ายมาก หากเปรียบ เทียบกับประเทศทางตะวันตกราคาไข่ไก่ (ปกติ) เฉลี่ยต่อฟองสูงกว่า 5 บาท ขณะที่ราคาไข่ไก่คุณภาพพิเศษราคาเกิน 10 บาทต่อฟอง สะท้อนให้เห็นราคา ตามคุณภาพและกลไกตลาด ของคุณภาพดี ราคาสูงตามต้นทุน

 

ได้ถามผู้สูงวัยอายุ 60 ปีท่านหนึ่งว่า ไข่ไก่ในสมัยก่อนราคาฟองละ เท่าไร คําตอบที่ได้รับคือไม่เกิน 1 บาทต่อฟอง แล้วขยับขึ้นมาเรื่อยจนวันนี้ ผู้สูงวัยท่านเดิมซื้อไข่ที่ราคา 4-5 บาทต่อฟอง (ราคาที่ตลาดสด) 

 

เมื่อ เทียบกับราคาน้ํามัน ราคาทองคํา ปรับขึ้นมากกว่าเท่าตัว หรือราคาสินค้า อาหารประเภทอื่น ๆ เช่น น้ํามันพืช ราคาปรับสูงขึ้นมากกว่าไข่ไก่หลาย สิบเท่าตัว แต่ผู้บริโภครับราคาได้ ไม่ปริปากบ่นกลับมองว่าเป็นสินค้าจําเป็น

 

ทั้งที่ราคาไข่ไก่ในแต่ละช่วงของปีราคาปรับขึ้น-ลงตามวัฏจักรความต้องการ เช่น ช่วงปิดเทอม ซึ่งความต้องการไข่ลดลงราคาตกต่ําเหลือฟองละ 2.50 บาท ช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาช่วงเศรษฐกิจไม่ดีกําลังซื้อหดหาย แทนที่จะซื้อ ยกแผง 30 ฟอง ก็ซื้อเพียง 10 ฟอง แค่พอกิน คนปรับพฤติกรรมตาม กําลังซื้อ โอกาสในการขายก็ลดลงไปอีก…เกษตรกรต้องแบกรับภาระ สต็อกและความเสี่ยงไว้

 
R-tron 313

 

ด้านผู้เลี้ยงไก่ไข่ หนักที่สุด คือ ปี 2565 แบกภาระต้นทุนวัตุดิบอาหาร สัตว์จนหลังแอ่น เพราะราคาเพิ่มขึ้นสูงสุด 30% จากพิษของสงครามรัสเซีย- ยูเครน อย่างที่เราท่านทราบว่าทั้ง 2 ประเทศเป็นผู้ส่งออกธัญพืชและวัตถุดิบอาหารสัตว์รายใหญ่ติดอันดับ 1 ใน 5 ของโลก 

 

นอกจากนี้ ผู้เลี้ยง ยังต้องเสริมเกราะป้องกันโรคระบาดสัตว์เพิ่มเติมอีก 20-30% เพื่อความ ปลอดภัยและสุขอนามัยที่ดีของผู้บริโภค ราคาไข่คละหน้าฟาร์มปัจจุบัน อยู่ที่ 3.60 บาท/ฟอง ขณะที่ต้นทุนผลิตอยู่ใกล้เคียงราคาหน้าฟาร์ม

 

รัฐบาลควรถอดบทเรียนครั้งนี้นําปัจจัยต่าง ๆ ไปปรับปรุง และพัฒนาภาคการเกษตรและภาคปศุสัตว์ ของไทยให้การผลิตมีเพียงพอกับความต้องการ สําคัญคือ ราคาควรตามกลไกตลาด เพราะเสถียรภาพราคาเป็น แรงจูงใจสําคัญของเกษตรกร 

 

เป็นความหวัง โอกาส และอนาคตของพวกเขา แทนที่จะนํามาตรการควบคุมและ ตรึงราคาจนเกษตรกรหน้าหมองมาใช้ปกป้องคนกลุ่มหนึ่ง แล้วทําให้คนอีกหลายกลุ่มในห่วงโซ่การผลิตเดือดร้อน “กลไกตลาด” ใช้อย่างถูกต้องก็จะสร้างความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ด้านอาหารของประเทศที่ไม่ควรถูกละเลย 

 

หากรัฐบาลพิจารณาวิกฤตครั้งนี้สร้างเป็นโอกาส ปรับโครงสร้างวาง

รากฐานภาคปศุสัตว์ของไทยใหม่ กําหนดเป้าหมายสําคัญคือ “เสถียรภาพ ราคา” เป็นสําคัญ ให้เกษตรกรเห็นโอกาสสดใส ปลายอุโมงค์ เมื่อนั้น ไทยจะบรรลุเป้าหมาย “ครัวของโลก” อย่างแท้จริง

 
ขอบคุณข้อมูล นิตยสาร สาส์นไก่&สุกร ฉบับที่ 237 เดือน กุมภาพันธ์ 2566
ผู้ผลิตและจำหน่ายชุดควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือน
เครื่องควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือน
 
 

เสถียรภาพราคาไข่ไก่ (Chicken egg price stability)

 ฟังเสียงคนไทยพร่ําบ่นตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมาจนถึง
ปัจจุบัน คือ “ของแพง” โดยเฉพาะอาหารที่มีการปรับราคา ต่อเนื่องจากเหตุผลหลักคือ ต้นทุนวัตถุดิบ ต้นทุนพลังงาน และต้นทุนปัจจัยการผลิตและการป้องกันโรคเพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง ซึ่งวัตถุดิบอาหารสัตว์เพิ่มแรงมากถึง 30% สินค้า สําคัญ คือ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ส่งผลกระทบโดยตรงกับ ภาคปศุสัตว์ที่พึ่งวัตถุดิบชนิดนี้เฉลี่ย 50-70% ทั้ง ไก่เนื้อ ไก่ไข่ และสุกร ตามลําดับ จึงไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ที่เกษตรกร และผู้ที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่การผลิตต้องปรับราคาเพิ่มขึ้น
Chickatron 20
 
ตามกลไกตลาด ให้สามารถเดินหน้าธุรกิจได้โดยไม่หยุดชะงัก
สําหรับอาหารที่เข้าถึงง่ายที่สุดสําหรับคนทุกเพศทุกวัยทั่วโลกอย่าง “ไข่ไก่” ในประเทศไทย เมื่อไหร่ก็ตามที่มีการปรับราคาเสียงบ่นอื้ออึงก็จะ ตามมา ขณะที่ภาคเกษตรกรก็สุดอั้นกับต้นทุนที่เพิ่มขึ้น ราคาไข่ไก่ขอปรับบ้าง ส่วนภาคผู้บริโภคล่าสุดจากการปรับราคาไข่คละหน้าฟาร์มอีก 20 สตางค์ต่อ ฟอง ก็ร้องว่า…
 
ขึ้นอีกแล้ว หรือไข่ราคาพุ่งบ้าง ลําบากแน่…ทั้งที่ความจริง 2 เดือนก่อนหน้าราคาลงไป 20 สตางค์ต่อฟอง ตามกลไกตลาด ซึ่งกรมการค้า ภายในออกมายืนยันว่า ราคาไข่ไก่เพิ่มขึ้น 20 สตางค์ จาก 3.40 บาทต่อฟอง เป็น 3.60 บาทต่อฟอง ภาครัฐมีการติดตามใกล้ชิดและได้ตรวจสอบแล้วว่า
 
การปรับราคาไข่ไก่ดังกล่าวเป็นไปตามอุปสงค์-อุปทาน สอดคล้องกับต้นทุน การผลิตโดยเฉพาะอาหารสัตว์ และยังไม่เกินราคาที่กรมฯ กํากับดูแลอยู่ให้ ทั้งผู้บริโภคและผู้ผลิตอยู่ได้อย่างสมดุล
 
ไทยเป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคที่ราคาไข่ไก่เข้าถึงได้ง่ายมาก หากเปรียบ เทียบกับประเทศทางตะวันตกราคาไข่ไก่ (ปกติ) เฉลี่ยต่อฟองสูงกว่า 5 บาท ขณะที่ราคาไข่ไก่คุณภาพพิเศษราคาเกิน 10 บาทต่อฟอง สะท้อนให้เห็นราคา ตามคุณภาพและกลไกตลาด ของคุณภาพดี ราคาสูงตามต้นทุน
 
ได้ถามผู้สูงวัยอายุ 60 ปีท่านหนึ่งว่า ไข่ไก่ในสมัยก่อนราคาฟองละ เท่าไร คําตอบที่ได้รับคือไม่เกิน 1 บาทต่อฟอง แล้วขยับขึ้นมาเรื่อยจนวันนี้ ผู้สูงวัยท่านเดิมซื้อไข่ที่ราคา 4-5 บาทต่อฟอง (ราคาที่ตลาดสด) 
 
เมื่อ เทียบกับราคาน้ํามัน ราคาทองคํา ปรับขึ้นมากกว่าเท่าตัว หรือราคาสินค้า อาหารประเภทอื่น ๆ เช่น น้ํามันพืช ราคาปรับสูงขึ้นมากกว่าไข่ไก่หลาย สิบเท่าตัว แต่ผู้บริโภครับราคาได้ ไม่ปริปากบ่นกลับมองว่าเป็นสินค้าจําเป็น
 
ทั้งที่ราคาไข่ไก่ในแต่ละช่วงของปีราคาปรับขึ้น-ลงตามวัฏจักรความต้องการ เช่น ช่วงปิดเทอม ซึ่งความต้องการไข่ลดลงราคาตกต่ําเหลือฟองละ 2.50 บาท ช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาช่วงเศรษฐกิจไม่ดีกําลังซื้อหดหาย แทนที่จะซื้อ ยกแผง 30 ฟอง ก็ซื้อเพียง 10 ฟอง แค่พอกิน คนปรับพฤติกรรมตาม กําลังซื้อ โอกาสในการขายก็ลดลงไปอีก…เกษตรกรต้องแบกรับภาระ สต็อกและความเสี่ยงไว้
R-tron 313
ด้านผู้เลี้ยงไก่ไข่ หนักที่สุด คือ ปี 2565 แบกภาระต้นทุนวัตุดิบอาหาร สัตว์จนหลังแอ่น เพราะราคาเพิ่มขึ้นสูงสุด 30% จากพิษของสงครามรัสเซีย- ยูเครน อย่างที่เราท่านทราบว่าทั้ง 2 ประเทศ เป็นผู้ส่งออกธัญพืช และ วัตถุดิบอาหารสัตว์รายใหญ่ติดอันดับ 1 ใน 5 ของโลก 
 
นอกจากนี้ ผู้เลี้ยง ยังต้องเสริมเกราะป้องกันโรคระบาดสัตว์เพิ่มเติมอีก 20-30% เพื่อความ ปลอดภัยและสุขอนามัยที่ดีของผู้บริโภค ราคาไข่คละหน้าฟาร์มปัจจุบัน อยู่ที่ 3.60 บาท/ฟอง ขณะที่ต้นทุนผลิตอยู่ใกล้เคียงราคาหน้าฟาร์ม
 
รัฐบาลควรถอดบทเรียนครั้งนี้นําปัจจัยต่าง ๆ ไปปรับปรุง และพัฒนาภาคการเกษตรและภาคปศุสัตว์ ของไทยให้การผลิตมีเพียงพอกับความต้องการ สําคัญคือ ราคาควรตามกลไกตลาด เพราะเสถียรภาพราคาเป็น แรงจูงใจสําคัญของเกษตรกร เป็นความหวัง โอกาส และอนาคตของพวกเขา 
 
แทนที่จะนํามาตรการควบคุมและ ตรึงราคาจนเกษตรกรหน้าหมองมาใช้ปกป้องคนกลุ่มหนึ่ง แล้วทําให้คนอีกหลายกลุ่มในห่วงโซ่การผลิตเดือดร้อน “กลไกตลาด” ใช้อย่างถูกต้องก็จะสร้างความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ด้านอาหารของประเทศที่ไม่ควรถูกละเลย 
 
หากรัฐบาลพิจารณาวิกฤตครั้งนี้สร้างเป็นโอกาส ปรับโครงสร้างวาง
รากฐานภาคปศุสัตว์ของไทยใหม่ กําหนดเป้าหมายสําคัญคือ “เสถียรภาพ ราคา” เป็นสําคัญ ให้เกษตรกรเห็นโอกาสสดใส ปลายอุโมงค์ เมื่อนั้น ไทยจะบรรลุเป้าหมาย “ครัวของโลก” อย่างแท้จริง
ขอบคุณข้อมูล นิตยสาร สาส์นไก่&สุกร ฉบับที่ 237 เดือน กุมภาพันธ์ 2566
ผู้ผลิตและจำหน่ายชุดควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือน
เครื่องควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือน
 

เสถียรภาพราคาไข่ไก่ (Chicken egg price stability)

 
 ฟังเสียงคนไทยพร่ําบ่นตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมาจนถึง
ปัจจุบัน คือ “ของแพง” โดยเฉพาะอาหารที่มีการปรับราคา ต่อเนื่องจากเหตุผลหลักคือ ต้นทุนวัตถุดิบ ต้นทุนพลังงาน และต้นทุนปัจจัยการผลิตและการป้องกันโรคเพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง ซึ่งวัตถุดิบอาหารสัตว์เพิ่มแรงมากถึง 30% สินค้า สําคัญ คือ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ส่งผลกระทบโดยตรงกับ ภาคปศุสัตว์ที่พึ่งวัตถุดิบชนิดนี้เฉลี่ย 50-70% ทั้ง ไก่เนื้อ ไก่ไข่ และสุกร ตามลําดับ จึงไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ที่เกษตรกร และผู้ที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่การผลิตต้องปรับราคาเพิ่มขึ้น
Chickatron 20
 
ตามกลไกตลาด ให้สามารถเดินหน้าธุรกิจได้โดยไม่หยุดชะงัก
สําหรับอาหารที่เข้าถึงง่ายที่สุดสําหรับคนทุกเพศทุกวัยทั่วโลกอย่าง “ไข่ไก่” ในประเทศไทย เมื่อไหร่ก็ตามที่มีการปรับราคาเสียงบ่นอื้ออึงก็จะ ตามมา ขณะที่ภาคเกษตรกรก็สุดอั้นกับต้นทุนที่เพิ่มขึ้น ราคาไข่ไก่ขอปรับบ้าง ส่วนภาคผู้บริโภคล่าสุดจากการปรับราคาไข่คละหน้าฟาร์มอีก 20 สตางค์ต่อ ฟอง 
 
ก็ร้องว่า…ขึ้นอีกแล้ว หรือไข่ราคาพุ่งบ้าง ลําบากแน่…ทั้งที่ความจริง 2 เดือนก่อนหน้าราคาลงไป 20 สตางค์ต่อฟอง ตามกลไกตลาด ซึ่งกรมการค้า ภายในออกมายืนยันว่า ราคาไข่ไก่เพิ่มขึ้น 20 สตางค์ จาก 3.40 บาทต่อฟอง เป็น 3.60 บาทต่อฟอง ภาครัฐมีการติดตามใกล้ชิดและได้ตรวจสอบแล้วว่า
การปรับราคาไข่ไก่ดังกล่าวเป็นไปตามอุปสงค์-อุปทาน สอดคล้องกับต้นทุน การผลิตโดยเฉพาะอาหารสัตว์ และยังไม่เกินราคาที่กรมฯ กํากับดูแลอยู่ให้ ทั้งผู้บริโภคและผู้ผลิตอยู่ได้อย่างสมดุล
 
ไทยเป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคที่ราคาไข่ไก่เข้าถึงได้ง่ายมาก หากเปรียบ เทียบกับประเทศทางตะวันตกราคาไข่ไก่ (ปกติ) เฉลี่ยต่อฟองสูงกว่า 5 บาท ขณะที่ราคาไข่ไก่คุณภาพพิเศษราคาเกิน 10 บาทต่อฟอง สะท้อนให้เห็นราคา ตามคุณภาพและกลไกตลาด ของคุณภาพดี ราคาสูงตามต้นทุน
 
ได้ถามผู้สูงวัยอายุ 60 ปีท่านหนึ่งว่า ไข่ไก่ในสมัยก่อนราคาฟองละ เท่าไร คําตอบที่ได้รับคือไม่เกิน 1 บาทต่อฟอง แล้วขยับขึ้นมาเรื่อยจนวันนี้ ผู้สูงวัยท่านเดิมซื้อไข่ที่ราคา 4-5 บาทต่อฟอง (ราคาที่ตลาดสด) เมื่อ เทียบกับราคาน้ํามัน ราคาทองคํา ปรับขึ้นมากกว่าเท่าตัว หรือราคาสินค้า อาหารประเภทอื่น ๆ เช่น น้ํามันพืช ราคาปรับสูงขึ้นมากกว่าไข่ไก่หลาย สิบเท่าตัว แต่ผู้บริโภครับราคาได้ ไม่ปริปากบ่นกลับมองว่าเป็นสินค้าจําเป็น
 
ทั้งที่ราคาไข่ไก่ในแต่ละช่วงของปีราคาปรับขึ้น-ลงตามวัฏจักรความต้องการ เช่น ช่วงปิดเทอม ซึ่งความต้องการไข่ลดลงราคาตกต่ําเหลือฟองละ 2.50 บาท ช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาช่วงเศรษฐกิจไม่ดีกําลังซื้อหดหาย แทนที่จะซื้อ ยกแผง 30 ฟอง ก็ซื้อเพียง 10 ฟอง แค่พอกิน คนปรับพฤติกรรมตาม กําลังซื้อ โอกาสในการขายก็ลดลงไปอีก…เกษตรกรต้องแบกรับภาระ สต็อกและความเสี่ยงไว้
R-tron 313
 
ด้านผู้เลี้ยงไก่ไข่ หนักที่สุด คือ ปี 2565 แบกภาระต้นทุนวัตุดิบอาหาร สัตว์จนหลังแอ่น เพราะราคาเพิ่มขึ้นสูงสุด 30% จากพิษของสงครามรัสเซีย- ยูเครน อย่างที่เราท่านทราบว่าทั้ง 2 ประเทศเป็นผู้ส่งออกธัญพืชและ วัตถุดิบอาหารสัตว์รายใหญ่ติดอันดับ 1 ใน 5 ของโลก นอกจากนี้ ผู้เลี้ยง ยังต้องเสริมเกราะป้องกันโรคระบาดสัตว์เพิ่มเติมอีก 20-30% เพื่อความ ปลอดภัยและสุขอนามัยที่ดีของผู้บริโภค ราคาไข่คละหน้าฟาร์มปัจจุบัน อยู่ที่ 3.60 บาท/ฟอง ขณะที่ต้นทุนผลิตอยู่ใกล้เคียงราคาหน้าฟาร์ม
 
รัฐบาลควรถอดบทเรียนครั้งนี้นําปัจจัยต่าง ๆ ไปปรับปรุง และพัฒนาภาคการเกษตรและภาคปศุสัตว์ ของไทยให้การผลิตมีเพียงพอกับความต้องการ สําคัญคือ ราคาควรตามกลไกตลาด เพราะเสถียรภาพราคาเป็น แรงจูงใจสําคัญของเกษตรกร เป็นความหวัง โอกาส 
 
และอนาคตของพวกเขา แทนที่จะนํามาตรการควบคุมและ ตรึงราคาจนเกษตรกรหน้าหมองมาใช้ปกป้องคนกลุ่มหนึ่ง แล้วทําให้คนอีกหลายกลุ่มในห่วงโซ่การผลิตเดือดร้อน “กลไกตลาด” ใช้อย่างถูกต้องก็จะสร้างความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ด้านอาหารของประเทศที่ไม่ควรถูกละเลย 
 
หากรัฐบาลพิจารณาวิกฤตครั้งนี้สร้างเป็นโอกาส ปรับโครงสร้างวาง
รากฐานภาคปศุสัตว์ของไทยใหม่ กําหนดเป้าหมายสําคัญคือ “เสถียรภาพ ราคา” เป็นสําคัญ ให้เกษตรกรเห็นโอกาสสดใส ปลายอุโมงค์ เมื่อนั้น ไทยจะบรรลุเป้าหมาย “ครัวของโลก” อย่างแท้จริง
ขอบคุณข้อมูล นิตยสาร สาส์นไก่&สุกร ฉบับที่ 237 เดือน กุมภาพันธ์ 2566
ผู้ผลิตและจำหน่ายชุดควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือน
เครื่องควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือน
 
กกลูกไก่

ดูข้อมูล เครื่อง กกไก่ เพิ่มเติม >> Products 

ติดตามเพจ เพิ่มเติม >> FACEBOOK

error: Content is protected !!