Menu Close

ส่วนประกอบส่วนใหญ่ของ ฮีตเตอร์

HEATER CF 75

ส่วนประกอบส่วนใหญ่ของ ฮีตเตอร์

1. ฉนวนแมกนีเซียม ออกไซด์ (MgO)

คุณสมบัติมีค่าความนำทางไฟฟ้าต่ำ แต่นำความร้อนได้ดีมาก ซึ่งทำหน้าที่กั้นกลางระหว่างลวดตัวนำฮีตเตอร์ กับปลอกโลหะ เพื่อป้องกันไม่ให้มีกระแสรั่ว (Leak Current)  

 

จากลวดฮีตเตอร์ออกไปยังผิวโลหะ จุดสำคัญคือห้ามมีความชื้นในฉนวนเด็ดขาด เนื่องจากจะทำให้ค่าความนำไฟฟ้าสูงขึ้น วิธีการแก้ไขคือการนำ  ไปอบในเตาอบเพื่อไล่ความชื้นในฮีตเตอร์

 

2. แสตนเลส (Stainless)

ที่นำมาใช้ในการผลิตฮีตเตอร์ มีอยู่หลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติแตกต่างกันไป ดังนี้

 

– Stainless304: ใช้ในงานที่ต้องการขึ้นรูปเพื่อการตกแต่งให้สวบงาม สามารถป้องกันสนิมได้เป็นอย่างดี

 

– Stainless316: ถูกออกแบบให้ป้องกันสนิมได้เป็นอย่างดี สามารถใช้ในงานอุตสาหกรรมหนัก และสถานที่ใกล้ทะเลที่มีความเป็นกรด-ด่างสูง 

 

– Stainless430: เป็นแสตนเลสที่ใช้โครเมียมเป็นส่วนประกอบ 100% และมีโอกาสเกิดสนิมน้อยกว่าเบอร์ 300 ซึ่งแสตนเลสแบบนี้นิยมนำมาตกแต่งภายในอาคารต่างๆ 

 

– ฮีตเตอร์คือ ลวดฮีตเตอร์(Heating wire is ): ซึ่งเรียกว่า ลวด Nikrothal 80 หรือ Ni80 โดยส่วนผสมของนิเกิล 80% และโครเมียม 20% ซึ่งสามารถทนอุณหภูมิสูงสุดได้ถึง 1100 -1400 องศาเซลเซียส 

 

โดยมีคุณสมบัติ เหนียวยืดหยุ่นสูง และทนความร้อนได้สูงถึง 1100-1400 องศาเซลเซียส ฮีตเตอร์คือ,หลักการทำงานของฮีตเตอร์,ฮีตเตอร์ไฟฟ้า,ขดลวด

 

ฮีตเตอร์ กกลูกไก่ CF 75

ฮีตเตอร์ ถูกแบ่งออกเป็นชนิดต่างๆ ตามลักษณะการใช้งานที่แตกต่างกัน ดังนี้

 

– ฮีตเตอร์แท่ง หรือ Cartridge Heater ใช้ให้ความร้อนกับวัสดุที่เป็นของแข็ง เช่น เหล็ก และโลหะต่างๆ ตัวอย่างการใช้งาน เช่น งานบรรจุหีบห่อ งานขึ้นรูปพลาสติก 

– ฮีตเตอร์ท่อกลม/ครีบ หรือ Finned Heater และฮีตเตอร์ท่อกลม ใช้ให้ความร้อนกับอากาศ เช่น ใช้ในห้องอบแห้ง ในเตาอบ

– ฮีตเตอร์จุ่ม หรือ Immersion Heater หรือบางทีเรียกว่าฮีตเตอร์ต้มน้ำ ใช้ให้ความร้อนกับของเหลวทุกชนิด ตัวอย่างการใช้งาน

– ฮิตเตอร์บอบบิ้น หรือ Bobbin Heater ใช้ให้ความร้อนของเหลวเหมือนฮีตเตอร์จุ่ม

– ฮีตเตอร์อินฟราเรด หรือ Infrared Heater ใช้ให้ความร้อนกับวัตถุโดยไม่ต้องสัมผัสโดยตรง ไม่เหมาะกับวัตถุที่มีลักษณะมันวาว เนื่องจากวัตถุมันวาวจะมีคุณสมบัติสะท้อนแสง ทำให้ไม่สามารถดูดซับรังสีอินฟราเรดได้อย่างเต็มที่ ใช้ติดตั้งในเตาอบหรือเหนือคอนเวย์เยอร์ได้

 

– ฮีตเตอร์รัดท่อ หรือ Band Heater ใช้ให้ความร้อนกับของเหลวที่อยู่ในท่อหรือถังรูปทรงกระบอกโดยรัดจากด้านนอก

– ฮีตเตอร์แผ่น หรือ Strip Heater ใช้ให้ความร้อนโดยแนบกับวัตถุโดยตรงสามารถออกแบบให้เป็นรูปทรงใดๆ ก็ได้

– ฮีตเตอร์เส้น หรือ Cable Heater ใช้ให้ความร้อนเพื่อป้องกันการจับตัวเป็นน้ำแข็งในสภาวะที่อุณหภูมิต่ำๆ สามารถประยุกต์ใช้กับอุตสาหกรรมทำความเย็น

TEMP CLIMATE CONTROLLER

MASTER CF75

ส่วนประกอบส่วนใหญ่ของ

ฮีตเตอร์

1. ฉนวนแมกนีเซียม ออกไซด์ (MgO): คุณสมบัติมีค่าความนำทางไฟฟ้าต่ำ แต่นำความร้อนได้ดีมาก ซึ่งทำหน้าที่กั้นกลางระหว่างลวดตัวนำฮีตเตอร์ กับปลอกโลหะ เพื่อป้องกันไม่ให้มีกระแสรั่ว (Leak Current) 
 
จากลวดฮีตเตอร์ออกไปยังผิวโลหะ จุดสำคัญคือห้ามมีความชื้นในฉนวนเด็ดขาด เนื่องจากจะทำให้ค่าความนำไฟฟ้าสูงขึ้น วิธีการแก้ไขคือการนำ ฮีตเตอร์คือ ไปอบในเตาอบเพื่อไล่ความชื้นในฮีตเตอร์ แมกนีเซียมออกไซด์
 
2. แสตนเลส (Stainless): ที่นำมาใช้ในการผลิตฮีตเตอร์ มีอยู่หลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติแตกต่างกันไป ดังนี้
 
– Stainless304: ใช้ในงานที่ต้องการขึ้นรูปเพื่อการตกแต่งให้สวบงาม สามารถป้องกันสนิมได้เป็นอย่างดี 
– Stainless316: ถูกออกแบบให้ป้องกันสนิมได้เป็นอย่างดี สามารถใช้ในงานอุตสาหกรรมหนัก และสถานที่ใกล้ทะเลที่มีความเป็นกรด-ด่างสูง 
 
– Stainless430: เป็นแสตนเลสที่ใช้โครเมียมเป็นส่วนประกอบ 100% และมีโอกาสเกิดสนิมน้อยกว่าเบอร์ 300 ซึ่งแสตนเลสแบบนี้นิยมนำมาตกแต่งภายในอาคารต่างๆ 
 
– ฮีตเตอร์คือ ลวดฮีตเตอร์(Heating wire is ): ซึ่งเรียกว่า ลวด Nikrothal 80 หรือ Ni80 โดยส่วนผสมของนิเกิล 80% และโครเมียม 20% ซึ่งสามารถทนอุณหภูมิสูงสุดได้ถึง 1100 -1400 องศาเซลเซียส โดยมีคุณสมบัติ เหนียวยืดหยุ่นสูง และทนความร้อนได้สูงถึง 1100-1400 องศาเซลเซียส ฮีตเตอร์คือ,หลักการทำงานของฮีตเตอร์,ฮีตเตอร์ไฟฟ้า,ขดลวด
 

ฮีตเตอร์ กกลูกไก่ CF 75

 
ฮีตเตอร์ ถูกแบ่งออกเป็นชนิดต่างๆ ตามลักษณะการใช้งานที่แตกต่างกัน ดังนี้
 
– ฮีตเตอร์แท่ง หรือ Cartridge Heater ใช้ให้ความร้อนกับวัสดุที่เป็นของแข็ง เช่น เหล็ก และโลหะต่างๆ ตัวอย่างการใช้งาน เช่น งานบรรจุหีบห่อ งานขึ้นรูปพลาสติก
 
– ฮีตเตอร์ท่อกลม/ครีบ หรือ Finned Heater และฮีตเตอร์ท่อกลม ใช้ให้ความร้อนกับอากาศ เช่น ใช้ในห้องอบแห้ง ในเตาอบ
– ฮีตเตอร์จุ่ม หรือ Immersion Heater หรือบางทีเรียกว่าฮีตเตอร์ต้มน้ำ ใช้ให้ความร้อนกับของเหลวทุกชนิด ตัวอย่างการใช้งาน 
– ฮิตเตอร์บอบบิ้น หรือ Bobbin Heater ใช้ให้ความร้อนของเหลวเหมือนฮีตเตอร์จุ่ม
– ฮีตเตอร์อินฟราเรด หรือ Infrared Heater ใช้ให้ความร้อนกับวัตถุโดยไม่ต้องสัมผัสโดยตรง ไม่เหมาะกับวัตถุที่มีลักษณะมันวาว เนื่องจากวัตถุมันวาวจะมีคุณสมบัติสะท้อนแสง ทำให้ไม่สามารถดูดซับรังสีอินฟราเรดได้อย่างเต็มที่ ใช้ติดตั้งในเตาอบหรือเหนือคอนเวย์เยอร์ได้
 
– ฮีตเตอร์รัดท่อ หรือ Band Heater ใช้ให้ความร้อนกับของเหลวที่อยู่ในท่อหรือถังรูปทรงกระบอกโดยรัดจากด้านนอก
– ฮีตเตอร์แผ่น หรือ Strip Heater ใช้ให้ความร้อนโดยแนบกับวัตถุโดยตรงสามารถออกแบบให้เป็นรูปทรงใดๆ ก็ได้
– ฮีตเตอร์เส้น หรือ Cable Heater ใช้ให้ความร้อนเพื่อป้องกันการจับตัวเป็นน้ำแข็งในสภาวะที่อุณหภูมิต่ำๆ สามารถประยุกต์ใช้กับอุตสาหกรรมทำความเย็น
 
 
กกลูกไก่

ดูข้อมูล เครื่อง กกไก่ เพิ่มเติม >> Products 

ติดตามเพจ เพิ่มเติม >> FACEBOOK

error: Content is protected !!